คนอีสานปลดแอกประกาศหนุนข้อเสนอประชาชนปลดแอก
ไผ่ ดาวดิน เผาหมายเรียก สภ.ขอนแก่น หลังการชุมนุมอีสานสิปลดแอก จ.ขอนแก่น ส่วนสมัชชาคนจนประกาศหนุนข้อเสนอประชาชนปลดแอก
ไผ่ ดาวดิน เผาหมายเรียก สภ.ขอนแก่น หลังการชุมนุมอีสานสิปลดแอก จ.ขอนแก่น ส่วนสมัชชาคนจนประกาศหนุนข้อเสนอประชาชนปลดแอก
การชุมนุมของคนหนุ่มสาวที่เบ่งบานทั่วประเทศ โดยเริ่มจากราชดำเนินเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคมเป็นต้นมา ล้วนถูกรัฐใช้อำนาจคุกคาม จับกุม ปฐวี โชติอนันต์ รวมรวบวิธีการที่รัฐกระทำต่อประชาชนไว้อย่างน่าสนใจ
กลุ่มศรีสะเกษจะไม่ทน ระดมสมองเตรียมชุมนุมต้านรัฐบาลปลายเดือนกรกฎาคมนี้
เหตุการณ์นองเลือดเมื่อปี 2553 ไม่ใช่เหตุการณ์แรกที่คนอีสานถูกสังหารโหด แต่หากย้อนไปเมื่อปี 2444 คนอีสานถูกปราบมากถึง 300 คน ในการชุมนุมที่เรียกว่า กบฎผีบุญ “ธีระพล อันมัย” วิเคราะห์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
“ว่าไปแล้วความวุ่นวายครั้งนี้หาใช่สิ่งน่าประหลาด…พูดได้ว่าเป็นปรากฏการณ์สุนัขตะกละฟัดกันเอง เป็นการแย่งชิงเนื้อสันในที่เคยลิ้ม และต่างติดใจลืมไม่ลง และสุดท้ายก็ฆ่ากัน-มีคนตาย-มีการปกปิดความจริง-มีการอนุญาตให้ฆ่าและคนตายล้วนแต่เป็นตัวเบี้ย คนบริสุทธิ์ต้องตายสังเวยเหตุการณ์เหมือนที่เคยเกิดขึ้นมาแล้ว” ท่อนหนึ่งจากเรื่องสั้น “กระฎุมพีวิถี” โดย ธีรพงษ์ ส.
ในสังคมอีสาน ถ้าใครถูกผลักไสว่าเป็น “ปอบ” คนนั้นคือ ตัวอันตราย ที่ไม่มีวันมีที่ยืนสังคมหมู่บ้าน เรื่องสั้น “ห่าก้อม” จารุพัฒน์ เพชราเวช ใช้สัญลักษณ์เพื่อโยงความขัดแย้งในหมู่บ้านให้เห็นภาพการเมืองระดับชาติที่ “พี่ชาย – น้องสาว” ถูกอำนาจโบราณยึดอำนาจแล้วผลักไสให้เป็น “ห่าก้อม”
“แม้อีกไม่กี่ปี ลุงอาจจะตายห่าไปเองตามธรรมชาติ แต่เขาก็มาตายกลางกรุงด้วยฝนพิษขนาด 5.56 มิลลิเมตร” เป็นฉากหนึ่งในเรื่องสั้น “งั้วง่าว” โดย ภู กระดาษ นักเขียนอีสานผู้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลซีไรต์ถึง 2 รอบ
“เรายังจำกลิ่นคลุ้งคาวเลือด ตอนที่ศพของผู้ชุมนุมถูกลำเลียงผ่านหน้า และทยอยนำขึ้นไปรวมกันไว้บนเวที นปช. พร้อมกับ อาวุธปืนที่ยึดมาจากฝ่ายทหารได้อย่างไม่ลืมเลือน” ความทรงจำในรอบ 10 ปี ของนักข่าวการเมืองที่เกาะติดเหตุการณ์สลายการชุมนุมเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2553
เมื่อคนตายลุกขึ้นมาเล่าเหตุการณ์ในช่วงเหตุการณ์พฤษภา’ 53 มันจะชวนสยองแค่ไหน “ธีร์ อันมัย” จะจูงมือพาไปฟังเรื่องราวจากปากเขา