กวีNew4D – อุ้มหาย
“การอุ้มหาย” เป็นถ้อยคำแห่งยุคสมัยที่ไม่มีใครอยากได้ยิน ไพรยุทธ สะกีพันธ์ กวีแห่งกลุ่มนักเขียนอีสาน New4D ชวนตั้งคำถามว่า เกิดอะไรขึ้นในสังคมไทย “ทำไมมีการอุ้มหาย”
“การอุ้มหาย” เป็นถ้อยคำแห่งยุคสมัยที่ไม่มีใครอยากได้ยิน ไพรยุทธ สะกีพันธ์ กวีแห่งกลุ่มนักเขียนอีสาน New4D ชวนตั้งคำถามว่า เกิดอะไรขึ้นในสังคมไทย “ทำไมมีการอุ้มหาย”
ถอดประสบการณ์ของนักศึกษาอีสาน “จากห้องเรียนสู่ห้องขัง” หลังถูกจับเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2563 “มัน คือ คุกที่ขังเสรีภาพ”
The Isaan Record จับมือกับเครือข่ายความหลากหลายทางเพศอีสานเปิดตัวซีรีส์ชุดใหม่ “ LGBTIQ + อีสาน: บนหนทางสู่สิทธิและความเท่าเทียม” เสนอเป็นตอนแรก
แม้ชะตากรรมจะทำให้ “ไผ่ ดาวดิน” ต้องเดินเข้า – ออกสถานที่ที่กักขังเสรีภาพบ่อยครั้ง แต่นั่นก็ไม่ได้ทำให้ความฝันที่อยากเห็นสถาบันกษัตริย์ถูกปฏิรูป “สิ้นสุดลง”
“26 ปี ถือเป็นการต่อสู้ที่รอคอยมานานว่า เราจะสู้ให้ได้ ตอนนี้พวกเราจับกลุ่มกันก็จะต่อสู้ต่อไปจนกว่าจะชนะ ต้องมีวันใดวันหนึ่งที่เราทำได้”สอน คำแจ่ม ภรรยากำนันทองม้วน คำแจ่ม อดีตนักต่อสู้เพื่อปกป้องชุมชนจากการทำเหมืองดงมะไฟ จ.หนองบัวลำภู
“ทำไมพวกผมถึงเผาศาลากลางจังหวัดนั้น ก็ต้องถามคุณกลับ และต้องบอกให้ชัดกว่านั้นเลยนะว่า ใครคนไหนลงมือเผา เอาภาพถ่ายมาโชว์เลยสิ ถ้าผมเผา เอาผมไปตัดหัวได้เลย ผมเลวขนาดนั้นผมก็สมควรตาย” ฉากหนึ่งในเรื่องสั้น “ไม่ปรากฏในข่าวภาคค่ำ” โดย ธีร์ อันมัย
เรื่องสั้น “มึงสู้เขาไม่ได้หรอก” ผู้เขียนดัดแปลงจากประสบการณ์ของผู้สูญเสียคนรักในเหตุการณ์พฤษภา’ 53 ทำให้ “สุวิทย์” ต้องลุกขึ้นสู้ แม้จะผ่านมากว่า 10 ปี เขายังรอ “ความยุติธรรม” ที่ไม่รู้จะมาถึงเมื่อใด
แม้ผ่านเหตุการณ์ความรุนแรงเมื่อปี 2553 จะมากว่า 10 ปี แต่ผู้สั่งการกลับยังคงลอยนวล ในทางตรงกันข้ามญาติพี่น้องของผู้สูญเสียต่างเฝ้ารอความยุติธรรม
“อานนท์ นำภา” ทนายความของเหยื่อทางการเมือง ถ่ายทอดความรู้สึกของผู้สูญเสียผ่านบทกลอน “แม่ยังรอฆาตกรนอนลูกกรง พ่อยังคงเดินหน้าหาคนยิง”
เป็นเวลากว่า 9 ปีแล้ว ที่ อ.ธีระพล อันมัย และกลุ่มเพื่อนนักวิชาการที่ร่วมกันตั้งกองทุนช่วยเหลือครอบครัวนักโทษการเมือง ได้รับจดหมายจากเรือนจำ เพื่อบอกเล่าความทุกข์และอุดมการณ์ทางการเมือง จดหมาย 2 ฉบับนี้ เป็นเพียงบางส่วนที่พวกเขาบอกเล่าความทุกข์ในเรือนจำ ก่อนห้วงยามโรคโควิด-19 ระบาด