พรศักดิ์ ส่องแสง : อีสานชาตินิยม
ในยุคหนึ่ง “พรศักดิ์ ส่องแสง” เป็นศิลปินอีสานที่ได้รับความนิยมสูงและมีแฟนเพลงคนอีสานอย่างคับคั่ง หลายคนอาจจะตั้งคำถามว่า เขาควรได้รับเกียรติยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ (ไทย) หรือไม่ บทความโดย วิทยากร โสวัตร
ในยุคหนึ่ง “พรศักดิ์ ส่องแสง” เป็นศิลปินอีสานที่ได้รับความนิยมสูงและมีแฟนเพลงคนอีสานอย่างคับคั่ง หลายคนอาจจะตั้งคำถามว่า เขาควรได้รับเกียรติยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ (ไทย) หรือไม่ บทความโดย วิทยากร โสวัตร
อดีตรัฐไทยสนใจคนอีสานแค่ให้ส่งส่วยและต้องการทรัพยากรจากภูมิภาคนี้ ไม่สนใจว่าพวกเขาจะมีชีวิตอย่างไร พอคนที่นี่ตื่นตัวอยากมีส่วนร่วมทางการเมืองเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี รัฐไทยก็ใส่ความว่าเป็นคอมมิวนิสต์และพวกแบ่งแยกดินแดน บทความเห็นโดย วิทยากร โสวัตร
ชวนผู้อ่านย้อนหาสาเหตุทางประวัติศาสตร์ว่า ทำไมคนอีสานรุ่นก่อนปี 2476 ถึงบอกว่าตัวเองเป็นคนลาว แต่คนอีสานรุ่นหลังจากนั้นไม่ชอบความเป็นลาว บทตวามเห็นโดย วิทยากร โสวัตร คอลัมนิสต์ “ควมอีสาน”
ย้อนดูร่องรอยประวัติศาสตร์สังคมอีสานช่วงทศวรรษ 2520 ซึ่งถูกเรียกว่า “ยุคเฟื่องฟูของงานเขียนประวัติศาสตร์อีสาน” ผ่านปกหนังสือแบบเรียน ท่องเที่ยวและวิทยานิพนธ์หลาย 10 เล่ม ที่รัฐและสื่อมวลชนยุคนั้นสร้างไว้ให้คนอีสานมีภาพจำอะไรบางอย่างผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ บทความเห็นโดย ประทีป สุธาทองไทย อาจารย์ภาควิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ ม.มหาสารคาม
“พระธาตุเรืองรอง” จ.ศรีสะเกษ พุทธสถานแหล่งสร้างและเผยแพร่ความเป็นชาติไทยภายใต้การควบคุมของรัฐไทยในดินแดนอีสานใต้ที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ส่งผลให้ความทรงจำทางประวัติศาสตร์ท้องถิ่นถูกกลืนและเป็นส่วนหนึ่งของรัฐไทยในที่สุด บทความเห็นโดย วุฒิชัย นาคเขียว อาจารย์สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ม.ราชภัฏศรีสะเกษ
ความล้มเหลวของการนัดหมายมอบตัวหมู่เพื่อสนับสนุนผู้ถูกจับกุม จากงานวิชาการที่เชียงใหม่ แสดงว่าการประท้วงใช้ไม่ได้แล้วจึงต้องใช้วิธีใหม่ผ่านพรรคซ้ายกลาง
เราไปติดคำว่าอีสาน เพราะกลัวคำว่า “ลาว” มันก็เลยไปไม่ถึงที่มาของมัน “อีสาน” มันเป็นตัวคั่นอยู่ระหว่างเครือญาติชาติพันธุ์ดั้งเดิมกับความเป็นรัฐชาตินิยม