สุวลี โพธิ์งาม : ชะตาชีวิตหลังถูกจำคุกคดีบุกรุกป่าซับหวาย กับการตกงานจากวิกฤตโควิด-19
วิกฤตโควิด-19 ระบาดมีคนตกงานทั่วประเทศไม่ต่ำกว่า 6.5 ล้านคน “สุวลี โพธิ์งาม” ชาวบ้านซับหวาย จ.ชัยภูมิ 1 ใน 14 คนที่เคยถูกจับในคดีรุกป่าไทรทองเป็นหนึ่งในนั้น
วิกฤตโควิด-19 ระบาดมีคนตกงานทั่วประเทศไม่ต่ำกว่า 6.5 ล้านคน “สุวลี โพธิ์งาม” ชาวบ้านซับหวาย จ.ชัยภูมิ 1 ใน 14 คนที่เคยถูกจับในคดีรุกป่าไทรทองเป็นหนึ่งในนั้น
“ลำบากเหลือเกิน” สุภาพ คำแหล้ นักต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดินจากชุมชนโคกยาว จ.ชัยภูมิ โอดครวญหลังต้องเผชิญกับภัยแล้งอันยาวนาน วอนรัฐเข้าช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาที่ดินทำกิน
ชาวบ้านซับหวาย จ.ชัยภูมิเตรียมเฮ หลังถูกจับติดคุกข้อบุกรุกป่า 14 คน คาดแผนจัดการคนอยู่กับป่าในอุทยานแห่งชาติไทรทองถึงมือผู้ว่าฯ พ.ค.นี้
ไม่มีใครเข้าใจป่าได้เท่ากับคนที่อยู่กับป่า เมื่อมีผู้ทำลาย ก็ต้องมีผู้ปกป้อง “อาสาสมัครพิทักษ์ป่า” จึงก่อตั้งขึ้นมาโดยคนในชุมชนผู้มีอุดมการณ์เดียวร่วมกัน
ชาวบ้าน จ.เลย ร้องผู้ว่าราชการจังหวัดเยียวยาผู้เดือดร้อนจากนโยบายทวงคืนผืนป่า เหตุถูกเหมารวมเป็นของนายทุน ผู้ว่าฯ รับลูกตั้งกรรมการสอบข้อเท็จจริงทันที
แม้การลาดตะเวนดูแลผืนป่าจะเป็นงานเสี่ยงตายและไร้ค่าตอบแทน ทว่าผู้พิทักษ์ป่าหัวใจอาสากว่า 20 ชีวิตจากหมู่บ้านห้วยหินขาว จ.หนองคาย ก็ยอมแลกเพื่อปกป้องผืนป่าไว้ให้ลูกหลาน ยศพนธ์ เกิดวิบูลย์ ลงพื้นที่
ข้อพิพาทที่ว่า ป่าอยู่ก่อนคน หรือ คนอยู่ก่อนป่า ถือเป็นหนังเรื่องยาวที่ถกเถียงอย่างไรก็ไม่มีวันจบ ขณะเดียวกันกลับมีตัวเลขคนถูกฟ้องร้องขับไล่ให้ออกจากป่ายาวเป็นหางว่าว อรนุช ผลภิญโญ กรรมการเครือข่ายปฏิรูปที่ดินภาคอีสาน (คปอ.) เสนอทางออกที่เป็นกลางระหว่างชาวบ้านกับรัฐ
การต่อสู้ของชาวชุมชนบ่อแก้ว จ.ชัยภูมิ ถือเป็นมหากาพย์เรื่องยาวกว่า 40 ปี ผ่านมาแล้วหลายรัฐบาล แม้จะล่วงเลยกำหนดการไล่รื้อมาอย่างหวุดหวิด แต่ก็ยังพิสูจน์ไม่ได้ว่า “ใครมีสิทธิ์ในสวนป่าคอนสาร”
ชาวบ่อแก้ว จ.ชัยภูมิ ปักหมุด 3 ต้นประกาศชัยชนะหลังรัฐเลื่อนไล่รื้อชุมชนออกไป 30 วัน พร้อมประกาศทวงคืนที่ดิน 1 ล้านไร่ในมือ อ.อ.ป.คืนประชาชน