ม.112 กรงขังศิลปิน
"ถ้าเราไม่มีกฎหมายอาญามาตรา 112 เราจะพูดเรื่องอะไรก็ได้ ศิลปินที่ไม่แสดงเจตนารมณ์ของตัวเอง หรือความคิดอีกด้านของกระแสหลัก เป็นปัญหาให้งานสร้างสรรค์ไม่ทะลุทะลวง"
"ถ้าเราไม่มีกฎหมายอาญามาตรา 112 เราจะพูดเรื่องอะไรก็ได้ ศิลปินที่ไม่แสดงเจตนารมณ์ของตัวเอง หรือความคิดอีกด้านของกระแสหลัก เป็นปัญหาให้งานสร้างสรรค์ไม่ทะลุทะลวง"
ผู้ฉกฉวยล้วนมีทุกสังคม ไม่เว้นแม้แต่การเพิ่มสีเขียวให้พื้นที่ก็ยังมีความเหลื่อมล้ำ “อรรณพ วันศรี” นักเขียนกลุ่มนักเขียน NEW4D สะท้อนไว้ในบทกวี “หยดเหงื่อที่เขาไม่เคยปลูก
บทกวีของกลุ่มนักเขียน NEW4D ตั้งคำถามไม่แตกต่างกลุ่มนักศึกษา ประชาชน ที่เคลื่อนไหวให้ปฏิรูปสถาบัน...ลองอ่านทีละบรรทัด
“การอุ้มหาย” เป็นถ้อยคำแห่งยุคสมัยที่ไม่มีใครอยากได้ยิน ไพรยุทธ สะกีพันธ์ กวีแห่งกลุ่มนักเขียนอีสาน New4D ชวนตั้งคำถามว่า เกิดอะไรขึ้นในสังคมไทย “ทำไมมีการอุ้มหาย”
อีสานมีวรรณกรรมชั้นเยี่ยมหลายเล่ม แต่กลับไม่ได้รับส่งเสริมให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง วิทยากร โสวัตร จึงตั้งคำถามว่า ฤาเพราะความเป็นอื่นที่ทำให้วรรณกรรมอีสานถูกลืม?
ทีมงานเดอะอีสานเรคคอร์ด สนทนากับ มาโนช พรหมสิงห์ บรรณาธิการวารสารชายคาเรื่องสั้น ตั้งแต่ชะตากรรมของหนังสือจนถึงมรดกคณะราษฎรที่กำลังถูกทำให้เลือนหาย
หนึ่งทศวรรษวารสารชายคาเรื่องสั้น วารสารแห่งแดนอีสาน ซึ่งส่งงานวรรณกรรมที่สะท้อนความเจ็บปวด ทุกข์ยากแห่งยุคสมัยถึงผู้อ่านมาหลายเล่ม แต่ก็ยังไม่สามารถขจัดวาทกรรม "คนอีสานโง่ จน เจ็บ" มาโนช พรหมสิงห์ บรรณาธิการวารสารชายคาเรื่องสั้นสะท้อนภาพสิบปีของวารสารฉบับนี้
เมื่อชีวิตต้องต่อสู้ในทุกฤดู การเฝ้าวันสิ้นสุดจึงเป็นอีกหนึ่งหนทางออก กวีจาก ไพรยุทธ สะกีพันธ์ นักเขียนอีสานกลุ่ม NEW4D
“ว่ากันว่า ไม่มีบ้านหลังใดไม่เคยมีคนตายฉันใด ก็ไม่มีผู้หญิงคนใดไม่เคยถูกล่วงละเมิดทางเพศฉันนั้น เราต่างเติบใหญ่มาในสังคมที่ผู้คนส่วนใหญ่คิดว่าการเปิดกระโปรงเด็กผู้หญิงเป็นเรื่องแกล้งกันธรรมดา” ส่วนหนึ่งจากเรื่องสั้น “ฅ ฅน อยู่ที่ไหน” เขียนโดย โมไนยา บุญช่วยชู นักเรียนชั้น ม.6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ในสังคมอีสาน ถ้าใครถูกผลักไสว่าเป็น “ปอบ” คนนั้นคือ ตัวอันตราย ที่ไม่มีวันมีที่ยืนสังคมหมู่บ้าน เรื่องสั้น “ห่าก้อม” จารุพัฒน์ เพชราเวช ใช้สัญลักษณ์เพื่อโยงความขัดแย้งในหมู่บ้านให้เห็นภาพการเมืองระดับชาติที่ “พี่ชาย - น้องสาว” ถูกอำนาจโบราณยึดอำนาจแล้วผลักไสให้เป็น “ห่าก้อม”