7 ปีความทุกข์ชาวอุดรฯ จากโรงงานยางพาราใกล้ชุมชน
รองผู้ว่า จ.อุดรฯ ขู่ปิดโรงงานแปรรูปยางพารา 2 แห่ง หลังสร้างมลพิษนานกว่า 7 ปี อรนุช ผลภิญโญ ลงพื้นที่รับฟังปัญหากับชาวบ้านจังหวัดอุดรธานี
รองผู้ว่า จ.อุดรฯ ขู่ปิดโรงงานแปรรูปยางพารา 2 แห่ง หลังสร้างมลพิษนานกว่า 7 ปี อรนุช ผลภิญโญ ลงพื้นที่รับฟังปัญหากับชาวบ้านจังหวัดอุดรธานี
ชาวขอนแก่นระดมสมองจัดการฝุ่น PM 2.5 กลุ่มมิตรผลปิ๊งไอเดียให้รางวัลคนแจ้งจับเผาไร่อ้อยหลังดำเนินคดีสิ้นสุด
ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 แผ่กระจายไปทั่วประเทศ “ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ” จึงมีข้อเสนอเพื่อลดการเผาอ้อยที่เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดควันพิษ
เวลาไม่ถึง 20 ปีที่มีอาชีพคัดแยกชิ้นส่วนมีค่าในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทำให้จังหวัดกาฬสินธุ์กลายเป็นเมืองหลวงแห่ง E-Waste ที่ส่งผลกระทบสิ่งแวดล้อม อ่านสารคดี “กาฬสินธุ์” แหล่งรวมขยะอิเล็กทรอนิกส์ ?
อีสานมีพื้นที่ปลูกอ้อยมากถึง 5 ล้านไร่ แต่กลับมีเครื่องวัดฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 ที่เกิดจากการเผาอ้อยเพียงแค่ 3 จังหวัด คนอีสานจะอยู่อย่างไรเมื่อชีวิตต้องเผชิญกับฝุ่นร้ายนี้ในฤดูการเก็บเกี่ยวที่กำลังใกล้เข้ามา ติดตามซีรีส์ชุดพิเศษ ความหวานและอำนาจ ตอน 13 “เมื่อชีวิตคนอีสานเปื้อนฝุ่น PM 2.5”
ความเข้มข้นของฝุ่น PM 2.5 ปีนี้รุนแรงกว่าทุกปี ภัยร้ายนี้ยิ่งเพิ่มมากขึ้นเมื่ออีสานถูกวางให้เป็นแหล่งปลูกอ้อยมากที่สุดในประเทศ แต่อีสานกลับมีสถานีวัดอากาศเพียงไม่กี่แห่ง สถานีวัดอากาศสำคัญแค่ไหน ชวนอ่านบทความโดย ผศ.ดร.ปฏิวัติ ฤทธิเดช ในซีรีส์ ความหวานและอำนาจ ตอน 10 “สถานการณ์มลพิษฝุ่น PM 2.5 ในอีสาน”
เครือข่ายภาคประชาชนออกแถลงการณ์ให้หยุดโรงงานน้ำตาลและโรงไฟฟ้าชีวมวลปทุมรัตน์ จ.ร้อยเอ็ด หวั่นมลพิษกระทบแหล่งปลูกข้าวหอมมะลิในทุ่งกุลาร้องไห้ พร้อมเรียกร้องให้ยกเลิกนโยบายอ้อยและน้ำตาลที่ทำลายชุมชน
เมื่อปริมาณขยะครัวเรือนเพิ่มขึ้น ทำให้หลายชุมชนใกล้บ่อขยะต้องเผชิญกับมลพิษจากขยะ ทั้งจากการจัดการขยะแบบฝังกลับและเทขยะกองกลางแจ้ง การตั้งคำถามถึงประสิทธิภาพในการจัดการขยะของรัฐและหน่วยงานท้องถิ่นจึงเริ่มขึ้น เพราะเหตุใดการจัดการขยะในประเทศไทยถึงยังไม่บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ การแยกขยะจากครัวเรือนจะช่วยลดปริมาณขยะก่อนเข้าสู่กระบวนการจัดการได้จริงหรือ
การเกิดขึ้นของโรงงานน้ำตาลและโรงไฟฟ้าชีวมวลอำนาจเจริญส่งผลกระทบด้านคมนาคมในพื้นที่ตำบลเชียงเพ็ง