ยามได๋สิเมือเฮือน
ยามได๋สิเมือเฮือน” เป็นหนึ่งในชายคาเรื่องสั้นที่ชวนตั้งคำถามถึงผู้คนที่ใช้ชีวิตริมโขงตั้งแต่เกิดจนสิ้นชีพ เพราะชีวิตบนสายน้ำมาพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงทุกโมงยาม
ยามได๋สิเมือเฮือน” เป็นหนึ่งในชายคาเรื่องสั้นที่ชวนตั้งคำถามถึงผู้คนที่ใช้ชีวิตริมโขงตั้งแต่เกิดจนสิ้นชีพ เพราะชีวิตบนสายน้ำมาพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงทุกโมงยาม
ตอนสุดท้ายของ “กบฏผู้มีบุญจากสองฟากฝั่งน้ำโขง” ศ. เอียน จี. แบร์ด มุ่งประเด็นไปที่อิทธิพลของราชวงศ์จำปาสักแห่งลาวและบทบาทที่พวกเขาจะมีในแผ่นดินลาว ซึ่งตกเป็นประเทศอาณานิคม รวมถึงเหตุผลที่ทำให้อำนาจของพวกเขาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของสยามตกต่ำลง
ในตอนแรกของ“กบฏผู้มีบุญจากสองฟากฝั่งน้ำโขง” ศ. เอียน จี. แบร์ด อธิบายบริบทของเกมการเมืองระหว่างฝรั่งเศส ราชวงศ์จำปาสัก และรัฐสยาม ซึ่งล้วนมีส่วนผลักดันขบวนการของเหล่าผู้มีบุญ ทั้งในฝั่งลาวที่เพิ่งตกเป็นอาณานิคมฝรั่งเศสและฝั่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือของสยาม ซึ่งตกเป็นเมืองขึ้นของกรุงเทพฯ ตอนที่ 2 นี้แบร์ดจะเล่าถึงความเคลื่อนไหวของกบฏผู้มีบุญ ซึ่งเดินทางข้ามฝั่งแม่น้ำโขงไปมาในช่วงเวลาดังกล่าว จึงนับได้ว่าเป็นเหตุการณ์ระหว่างพรมแดนที่มีความสำคัญอีกเหตุการณ์หนึ่ง
The Isaan Record ได้เผยแพร่เรื่องราวเกี่ยวกับขบวนการกบฏผีบุญหรือผู้มีบุญที่กระจายตัวอยู่ทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือเมื่อกว่า 100 ปีที่แล้ว โดยมุ่งเน้นไปที่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในฝั่งตะวันตกของแม่น้ำโขงเป็นหลัก ในบทความชุด “กบฏผู้มีบุญจากสองฟากฝั่งน้ำโขง” ของ ศ.เอียน จี. แบร์ด นักวิชาการสาขาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษาจาก ม.วิสคอนซิน-แมดิสันได้แบ่งออกเป็น 3 ตอนเพื่อให้ภาพกว้างขึ้น ตอนแรกนี้ผู้อ่านจะได้รับรู้ถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในฝั่ง “ลาว” ของแม่น้ำโขง ในช่วงที่พรมแดนเคยเปิดกว้างเพิ่งถูกขีดเส้นเป็นเขตแดนระหว่างประเทศ
“มัญจาคีรี” ซึ่งเป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดขอนแก่น ในช่วงรัชกาลที่ 5 เคยมีสถานะเป็นเมืองหนึ่งของสยาม มีเจ้าเมืองชื่อ “จางวางเอกพระยาพฤติคุณธนะเชษ” ที่สามารถสร้างเมืองให้อุดมสมบูรณ์จนผู้คนแห่เข้ามาอยู่อาศัย ปัจจุบันลูกหลานได้หล่อรูปปั้นไว้ให้ผู้คนได้ศึกษาและมอบเสื้อเจ้าเมืองให้กับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่นให้ผู้คนได้เรียนรู้
“ปีที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต เป็นธรรมเนียมต้องโกนผมไว้ทุกข์ทั่วพระราชอาณาจักร ประเทศลาวทั้งสิ้น บรรดาผู้หญิง ไม่ว่าสาวหรือแก่ ไว้ผมยาวทั้งสิ้น…” ส่วนหนึ่งของบทความที่ วิทยากร โสวัตร พบว่า เป็นเหตุผลที่แม่หญิงอีสานในอดีตถูกบังคับให้เศร้า
สังคมอีสานล้วนมีนักคิ นักปราชญ์อยู่มากหลาย ต่างแฝงฝังอยู่ตามหัวเมืองต่างๆ ทว่า 5 นักปราชญ์ที่ ภาณุพงศ์ ธงศรี หยิกยกมากล่าวถึงในบทความ “5 นักปราชญ์ ผู้ทรงอิทธิพลทางความคิดและวิชาการของชาวอีสาน” ล้วนเป็นปรมาจารย์ที่ลูกหลานชาวอีสานควรเรียนรู้และจดจำ
“ภาษาจึงเป็นสิ่งหนึ่งที่บ่งบอกถึงรากเหง้าที่มาที่ไปของชาติพันธุ์ได้อย่างลึกซึ้งไม่น้อยกว่าการบอกว่า เป็นคนไทย” อติเทพ จันทร์เทศ ชวนสำรวจรากเหง้าของตัวเองก่อนทุกอย่างเลือนหาย
หากใครเคยอ่าน “นิราศทัพเวียงจันท์” คงพอจินตนาการออกว่า พระบรมมหาราชวัง ณ กรุงเวียงจันทน์ งดงามไม่แพ้อาณาจักรใดในอินโดจีน ถ้าไม่มีสงคราม ความงามนั้นคงเหลือให้เห็น บทความเห็นโดย ภาณุพงศ์ ธงศรี
“กาพย์รถไฟหลวง” ของพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ นิราศอีสานแนวสัจนิยม (Literary realism) ได้รับอิทธิพลจากตะวันตกและสยาม โดยใช้ฉันทลักษณ์และถ้อยคำลาว พรรณนาถึงการเดินทางยุคหลังก่อสร้างทางรถไฟ ปี 2473 จากโคราชไปอุบลฯ ซึ่งเป็นยุคที่คนอีสานไม่มีสำนึกความเป็นไทย บทความเห็นโดย ภาณุพงศ์ ธงศรี
“ภาษาอีสาน” มีจริงหรือไม่ เพราะเมื่อคำว่า “อีสาน” หรือ “อีศาน” เป็นชื่อที่ถูกนำมาเรียก “ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” และคนภูมิภาคนี้ก็มีภาษาพูดที่หลากหลาย เชิญอ่านบทความเห็นโดย วิทยากร โสวัตร
หลายช่วงเวลา รัฐไทยเชื่อว่าวัฒนธรรมต่างชาติภายนอกกำลังบ่อนทำลาย “ความเป็นไทย” ทำให้ต้องเร่งประดิษฐ์วัฒนธรรมท้องถิ่นขึ้น เพื่อสร้างความมั่นคงทางศิลปวัฒนธรรม ทว่าสิ่งนั้นกลับทำลายวัฒนธรรมท้องถิ่นที่แท้จริง