บ้านไม่เคยร้าง
ความฝัน ความหวังของคนเป็นแม่ ทำได้เพียงมองลูกกางปีก เติบโต มีชีวิตเป็นของตนเอง แม้วันหนึ่งบ้านที่เคยอยู่ด้วยกันในวันวัยจะกลายเป็นกลายเป็นสถานที่แห่งเพียงความทรงจำก็ตาม ชายคาเรื่องสั้นโดย ปันนารีย์
ความฝัน ความหวังของคนเป็นแม่ ทำได้เพียงมองลูกกางปีก เติบโต มีชีวิตเป็นของตนเอง แม้วันหนึ่งบ้านที่เคยอยู่ด้วยกันในวันวัยจะกลายเป็นกลายเป็นสถานที่แห่งเพียงความทรงจำก็ตาม ชายคาเรื่องสั้นโดย ปันนารีย์
ชายคาเรื่องสั้นเรื่องนี้เป็นของ “สันติสุข กาญจนประกร” ดุจเสมือนเรื่องจริงโดยเฉพาะในยุคต่อสู้เรื่องประชาธิปไตยของครอบครัวชนชั้นกลางบางครอบครัวที่ผู้ปกครองกินสลิ่ม ทว่าลูกในไส้ออกมาเรียกร้องเคลื่อนไหวเรียกร้องเพื่อคนเท่ากัน แต่จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อลูกของเธอถูกจับในข้อหาฉกรรจ์ตามมาตรา 112 และ 116 ซึ่งคนรุ่นใหม่ส่วนใหญ่ต้องเผชิญ
คุณจะเลือกชื่นชมสัตว์ชนิดใดระหว่างสุนัขจรจัดที่ยืนตรงและเห่าหอนเวลาได้ยินเสียงเพลงชาติและกระรอกตัวน้อยที่มีอิสระจากเสียงเพลงปลุกใจ เรื่องสั้น “หมาในมหาวิทยาลัย” ชายคาเรื่องสั้นชวนตั้งคำถาม
“คนอยู่ที่ไหนก็เป็นคนที่นั่น” แต่ความหวาดระแวงทำให้คนบางคนมองมนุษย์ไม่เป็นคนเท่ากัน เรื่องสั้น “ประชากรแฝงในโรตีแกง” จึงเป็นบทสนทนาที่บาดลึกลงไปในความเป็นปัจจุบันที่แบ่งแยกชนชั้น วรรณะ เชื้อชาติ แม้นับถือศาสนาเดียวกันก็ตาม
ยามได๋สิเมือเฮือน” เป็นหนึ่งในชายคาเรื่องสั้นที่ชวนตั้งคำถามถึงผู้คนที่ใช้ชีวิตริมโขงตั้งแต่เกิดจนสิ้นชีพ เพราะชีวิตบนสายน้ำมาพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงทุกโมงยาม
เรื่องสั้นจากชายคาเรื่องสั้นตอนที่ 2 “เมืองเก่า” เป็นความทรงจำที่ผู้เขียนถ่ายทอดออกมาได้เห็นภาพ กระทั่งบรรณาธิการเรื่องสั้นอย่าง มาโนช พรหมสิงห์ บอกว่า เป็นสิ่งสะท้อนวัยเยาว์อันรื่นรมย์ เข้ากับยุคสมัยแห่งเผด็จการภายใต้ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รัฐธรรมนูญของรัฐเผด็จการ สะท้อนถึงเมืองเก่าในวัยเยาว์ จนเป็นดั่งผู้มาก่อนกาลเวลา ภายใต้ระบบเก่าแก่ที่แสนห่วย โคตรห่วยก็ว่าได้ นี่ล่ะสังคมที่เฮาเผชิญอยู่ พี่น้องเอ๊ย ...
วารสารชายคาเรื่องสั้นเดินทางมาถึงปีที่ 11 ภายใต้ชายคา สำนักพิมพ์เขียน ปีนี้มีธีม “ห่าตำปอด เชื้อไข้ร่วมสมัย” ซึ่งคัดสรรเรื่องสั้นมาทั้งหมด 16 เรื่องที่มีความหลากหลายและคุณภาพคับแก้ว ซึ่งดูแลคุณภาพโดย มาโนช พรหมสิงห์
“กาพย์พระไชยสุริยา” ถือเป็นผลงานวรรณกรรมชิ้นหนึ่งของสุนทรภู่ กวีเอกสยามที่เลื่องลือนาม แถมยังแฝงความคิดทางการเมืองไว้อย่างเห็นได้ชัด ที่สำคัญวรรณกรรมชิ้นนี้ถูกบรรจุไว้แบบเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมฯ ด้วย
บทกวีจากกลุ่มนักเขียนอีสาน NEW4D “ความจริงเคยโกหกผม” ที่เสียดแทงการโกหกในทุกรูปแบบ ตั้งแต่โรงเรียนจนถึงกองทัพ
ทีมงานเดอะอีสานเรคคอร์ด สนทนากับ มาโนช พรหมสิงห์ บรรณาธิการวารสารชายคาเรื่องสั้น ตั้งแต่ชะตากรรมของหนังสือจนถึงมรดกคณะราษฎรที่กำลังถูกทำให้เลือนหาย
หนึ่งทศวรรษวารสารชายคาเรื่องสั้น วารสารแห่งแดนอีสาน ซึ่งส่งงานวรรณกรรมที่สะท้อนความเจ็บปวด ทุกข์ยากแห่งยุคสมัยถึงผู้อ่านมาหลายเล่ม แต่ก็ยังไม่สามารถขจัดวาทกรรม "คนอีสานโง่ จน เจ็บ" มาโนช พรหมสิงห์ บรรณาธิการวารสารชายคาเรื่องสั้นสะท้อนภาพสิบปีของวารสารฉบับนี้
บทกวีจากกลุ่มนักเขียน NEW4D วิชัย จันทร์สอน บันทึกเรื่องราวของการเกษตรกรที่ต้องรอฟ้ารอฝนให้เทวดานำพา โดยใช้เทคนิคการเล่าเรื่องแบบผญา