ชีวิตพลัดถิ่น – แรงงานอีสานในสิงคโปร์ยุคสร้างชาติ
เรื่องของผู้ใช้แรงงานชาวไทยที่จากถิ่นฐานไปทำงานยังประเทศสิงคโปร์ โดยทำงานเป็นคนงานก่อสร้างในไซต์งานหรือในท่าเรือขนส่งสินค้ามากมายนับไม่ถ้วน เป็นฟันเฟืองที่ทำให้การค้าระหว่างประเทศดำเนินไป
เรื่องของผู้ใช้แรงงานชาวไทยที่จากถิ่นฐานไปทำงานยังประเทศสิงคโปร์ โดยทำงานเป็นคนงานก่อสร้างในไซต์งานหรือในท่าเรือขนส่งสินค้ามากมายนับไม่ถ้วน เป็นฟันเฟืองที่ทำให้การค้าระหว่างประเทศดำเนินไป
เส้นทางชีวิตของอดีตผู้คุมงานก่อสร้างชาวอีสานที่กลายเป็นผู้บันทึกภาพชีวิตแรงงานไทยในประเทศสิงคโปร์์ยุคสร้างชาติ
ตอนที่สี่ของซีรี่ส์ "อีสานโพ้นทะเล" พาไปฟังเรื่องราวของไพรสันติ จุ้มอังวะ อดีตคนงานเก็บแบร์รี่ที่ฟินแลนด์ผู้กลายเป็นผู้ผลักดันการต่อสู้เพื่อสิทธิของแรงงานอีสานข้ามชาติ
นับตั้งแต่ต้นทศวรรษ 1990 (กลางพุทธทศวรรษ 2530) ชาวอีสานหลายหมื่นคนทิ้งไร่นาบ้านเกิดไปทำงานเป็นเกษตรกรรับจ้างในอิสราเอล ณ ที่นั่นพวกเขาต้องเผชิญกับการขูดรีดจากนายหน้าและนายจ้างอยู่บ่อยครั้ง ถึงแม้จะมีการผลักดันให้ยกระดับสภาพการทำงานของเกษตรกรรับจ้างชาวไทยในอิสราเอลในช่วงที่ผ่านมา แต่สถานการณ์ของพวกเขายังคงสุ่มเสี่ยง
จากอีสานสู่อิรักและญี่ปุ่น ย้อนอดีตชีวิตของนายเดช กิ่งแก้วกัลยา หรือ 'พ่อเดช' คนอีสานรุ่นที่สองที่ออกไปเสี่ยงโชคหางานทำ ณ ต่างประเทศ ผู้ใช้เวลาเกือบยี่สิบปีของชีวิต ณ ต่างประเทศ จนนับว่าการไปทำงานต่างประเทศเป็นวิถีของตนเอง ก่อนกลับมาอีสานอีกครั้งอย่างถาวร
แรงงานอีสานยังคงเดินทางไปทำงานต่างประเทศผ่านการลงทะเบียนที่ถูกต้องทั้งหมด ในปี พ.ศ.2558 ประมาณ 46,553 คน คิดเป็นร้อยละ 61 จากทั่วทั้งประเทศประมาณ 69,664 คน จังหวัดที่แรงงานเดินทางไปทำงานต่างแดนมากที่สุดคือ อุดรธานี โดยประเทศไต้หวันเป็นประเทศที่คนอีสานเดินทางไปทำงานมากที่สุด