นคร พงษ์ภาพ (2) เพชรพิณทอง คือ บ่ได้เป็นศิลปินแห่งชาติ?
วิทยากร โสวัตร พาไปตามต่อถึงบทบาทของขุนพลเพลงอีสาน “นคร พงษ์ภาพ” ผู้ร่วมก่อตั้งวงดนตรีอีสานตำนานเพชรพิณทอง กับคำถามที่คาใจว่า เหตุใดศิลปินในวงจึงไม่ได้เป็นศิลปินแห่งชาติ?
วิทยากร โสวัตร พาไปตามต่อถึงบทบาทของขุนพลเพลงอีสาน “นคร พงษ์ภาพ” ผู้ร่วมก่อตั้งวงดนตรีอีสานตำนานเพชรพิณทอง กับคำถามที่คาใจว่า เหตุใดศิลปินในวงจึงไม่ได้เป็นศิลปินแห่งชาติ?
การฟ้องร้อง ม.ธรรมศาสตร์ ทำให้ “เคท ครั้งพิบูลย์” เป็นแรงบันดาลใจให้ผู้มีความหลากหลายเพศกล้าหาญที่ต่อสู้เพื่อสิทธิในการจ้างงานและการปฏิเสธรับเข้าทำงาน เพราะอคติทางเพศ
การอุ้มหาย “วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์” ทำให้ “สิตานัน” เปลี่ยนบทบาทจากพี่สาวผู้เงียบขรึมกลายเป็นหญิงแกร่งเพื่อทวงคืนยุติธรรมให้น้องชาย
จากบทความ “ปริศนาแผ่นเสียงหมอลำคณะดัง แต่ไม่มีบันทึกหรือถูกอะไรกดไว้? ทำให้วิทยากร โสวัตร ได้พบกับ นคร พงษ์ภาพ ผู้ก่อตั้งวงเพชรพิณทองร่วมกับ นพดล ดวงพร จนโด่งดัง
กว่า 7 เดือนที่ วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์ หรือ ต้าร์ หายตัวไปขณะลี้ภัยในประเทศกัมพูชา ยังไร้วี่แววการพบตัว แต่ในฐานะศิษย์เก่าโรงเรียนเบ็ญจะมะฯ การหายไปของเขาได้ปลุกพลังคนรุ่นใหม่ให้ป้องกันไม่ให้มีการ “อุ้มหายซ้ำ”
ฟังเสียงอดีตสมาชิกกลุ่มคนเสื้อแดงชักธงรบ จ.อุบลราชธานี จากคนที่เคยชื่นชอบ สนธิ ลิ้มทองกุล ติดตามการเมืองจนถึงรัฐประหารปี 49 จนเข้าร่วมต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย เห็นเพื่อนตายต่อหน้าปี 53
และเริ่มมีความหวังจากการเคลื่อนไหวของกลุ่มนักศึกษาและกลุ่มคณะราษฎรปี 63
เกือบทุกเวทีการชุมนุมของคนรุ่นใหม่มักจะมีคำ “ขอโทษ” คนเสื้อแดง เพราะเคยเข้าใจผิดในการเคลื่อนไหวเมื่อปี 2553 แต่คนเสื้อแดงกลับไม่เคยโกรธ ตรงกันข้ามกลับดีใจที่เห็นคนรุ่นใหม่ “ตาสว่าง”
สองสมาชิกกลุ่มดาวดิน ยื่นฟ้อง ตำรวจ สน.ชนะสงคราม ออกหมายเรียก ทั้งที่ไม่ได้เข้าร่วมชุมนุม “19 กันยาทวงอำนาจคืนราษฎร” หลังได้รับหมายเรียกมั่วสุมเกิน 10 คน
บทความที่แล้ว ปฐวี โชติอนันต์ นักวิชาการ ม.อุบลฯ ได้ตั้งข้อสังเกตถึงการเลือกตั้ง นายก อบจ.ที่มีปัจจัยหลายอย่างอาจทำให้ประชาธิปไตยในท้องถิ่นไปไม่ถึงฝัน บทความนี้เป็นภาคต่อของการเมืองในอุบลฯ ที่ควรต้องจับตา