ตำรวจ สภ.ปทุมรัตต์แจ้งจับแกนนำต้านโรงไฟฟ้าชีวมวล
ตำรวจ สภ.ปทุมรัตต์แจ้งความจับกลุ่มต้านโรงไฟฟ้าชีวมวล จ.ร้อยเอ็ด ส่วนเวทีรับฟังความคิดเห็นผ่านฉลุย คนแห่ร่วมเวทีกว่า 2 พันคน ชาวบ้านเผยได้ค่ารถคนละ 300 บาท
ตำรวจ สภ.ปทุมรัตต์แจ้งความจับกลุ่มต้านโรงไฟฟ้าชีวมวล จ.ร้อยเอ็ด ส่วนเวทีรับฟังความคิดเห็นผ่านฉลุย คนแห่ร่วมเวทีกว่า 2 พันคน ชาวบ้านเผยได้ค่ารถคนละ 300 บาท
“ยืนยันว่า ทุกขั้นตอนปร่งใส มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน” ผู้บริหารกลุ่มมิตรผลบ้านไผ่ ตอบคำถามถึงการสร้างโรงงานน้ำตาลและโรงงานไฟฟ้าชีวมวลเพิ่มในภาคอีสาน ติดตามบทสัมภาษณ์เต็มๆ ในซีรีส์พิเศษชุด “ความหวานกับอำนาจ” ตอนที่ 15 มิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม...ความฝันในไร่อ้อย
ทำไมต้องคัดค้านโรงงานน้ำตาลผนวกโรงงานไฟฟ้าชีวมวล จังหวัดขอนแก่น ติดตามในซีรีส์พิเศษชุด ความหวานและอำนาจ ตอนที่ 14 “ผนึกกำลังต้านโรงงานน้ำตาล-โรงไฟฟ้าชีวมวลขอนแก่น
การเลี้ยงผึ้งสร้างรายได้ให้ผู้เลี้ยงสูงถึงปีละ 4-5 ล้านบาท แต่ตอนนี้เกษตรกรผู้เลี้ยงผึ้งต้องเจอปัญหาจากการเกษตรที่ใช้สารเคมีทำให้ผึ้งหาน้ำหวานที่ปลอดภัยจากดอกไม่ได้ ชวนอ่านซีรีส์พิเศษชุด ความหวานและอำนาจ ตอน “หอบรังผึ้งตระเวนหาความหวาน ตอน 2”
ผลสะเทือนจากการทำไร่อ้อยในอีสาน ทั้งสารเคมีและเกษรจากอ้อยที่ไม่แน่นอน ทำให้คนเลี้ยงผึ้งต้องหอบรังผึ้งตระเวนหาแหล่งสร้างความหวานให้มวลหมู่ผึ้งทั่วราชอาณาจักร เดอะอีสานเรคคอร์ด ชวนอ่านซีรีส์พิเศษ ความหวานและอำนาจ ตอนที่ 11 “หอบรังผึ้งหาแหล่งความหวาน ตอน 1”
ความเข้มข้นของฝุ่น PM 2.5 ปีนี้รุนแรงกว่าทุกปี ภัยร้ายนี้ยิ่งเพิ่มมากขึ้นเมื่ออีสานถูกวางให้เป็นแหล่งปลูกอ้อยมากที่สุดในประเทศ แต่อีสานกลับมีสถานีวัดอากาศเพียงไม่กี่แห่ง สถานีวัดอากาศสำคัญแค่ไหน ชวนอ่านบทความโดย ผศ.ดร.ปฏิวัติ ฤทธิเดช ในซีรีส์ ความหวานและอำนาจ ตอน 10 “สถานการณ์มลพิษฝุ่น PM 2.5 ในอีสาน”
การพลิกโฉมอีสานให้เป็นแหล่งพลัง Bio Hub ด้วยการอนุมัติโรงงานน้ำตาลบวกโรงไฟฟ้าชีวมวลอีก 29 แห่ง ถือเป็นตลกร้ายเมื่อเวทีรับฟังความคิดเห็นในหลายพื้นที่อีสานเป็นเพียงการจัดฉาก อ่านบทความ แม้นวาด กุญชร ณ อยุธยา ในซีรีส์ ความหวานและอำนาจ ตอน “อีสานแหล่ง Bio Hub?”
ชาวอีสานหวั่นโรงงานน้ำตาล-ไฟฟ้าชีวมวล 29 แห่ง ตามยุทธศาสตร์อ้อยน้ำตาล 10 ปี กระทบแหล่งปลูกข้าวหอมมะลิชื่อดังก้องโลก นักวิจัยจี้ทบทวนแผนแบบมีส่วนร่วม แนะเปิดเผยข้อมูลต่อประชาชนก่อนตื่นตระหนก
การประกาศลอยตัวน้ำตาลตามกลไกตลาดโลก ไม่เพียงทำให้ชาวไร่อ้อยรายย่อยได้รับผลกระทบเท่านั้น แต่ผู้ปลูกอ้อยรายใหญ่ยังสะเทือนตามไปด้วย เมื่ออ้อยราคาตก ชาวไร่จึงต้องถอย สวนทางกับนโยบายของรัฐที่ต้องการเพิ่มพื้นที่อ้อยในอีสานเป็น 6 ล้านไร่
เคยสงสัยไหมว่า ต้นกำเนิดส้มตำมาจากไหน ใครเป็นคนต้นคิด ส้มตำแบบอีสานจากต้นตำรับเป็นอย่างไร เค็มนำ หวานตามจริงหรือไม่ ทำไมส้มตำในอีสานจึงต้องใส่ “น้ำตาล” ชวนอ่านบทความโดย ชานนท์ ไชยทองดี,จีระยุทธ อรรคบุตร
ติดตามซีรีส์ ความหวานและอำนาจ มาหลายตอน คราวนี้จะลงลึกว่า ไทยก้าวขึ้นมาหนึ่งในผู้นำผลิตน้ำตาลรายใหญ่ของโลกและสร้าง GDP ด้านการเกษตรให้กับประเทศสูงถึงร้อยละ 16 ได้อย่างไร ติดตามในซีรีส์ ความหวานและอำนาจ ตอน 5 “ไทยกลายเป็นอู่น้ำตาลแห่งเอเชียอาคเนย์ได้อย่างไร”
“ความหวาน” อยู่คู่สังคมสยามมาอย่างยาวนาน เห็นได้จากพระราชพิธีตักบาตรน้ำผึ้ง กระทั่งการใช้สอยน้ำตาลโตนดในครัวเรือน แต่น้ำตาลที่ได้จากอ้อยมักเป็นของหายากและตกอยู่ในมือของชนชั้นนำ ติดตามอ่านซีรีส์ชุด “ความหวานและอำนาจ” ตอน “ความหวานในสยาม”