เพื่อนของผม
เพื่อนที่เป็นเหมือนโอเอซิสของเด็กชาย เพื่อนที่หายไปในวันหนึ่ง โดยมีคำจากลาเป็นความรู้สึกผิด กระนั้นบางถ้อยคำที่ทิ้งไว้กลับเป็นไทม์แมชชีนที่พาเขาย้อนกลับไปในวันหนึ่ง วันที่เขาทั้งคู่ลอดรั้วสังกะสีมาพบกัน
เพื่อนที่เป็นเหมือนโอเอซิสของเด็กชาย เพื่อนที่หายไปในวันหนึ่ง โดยมีคำจากลาเป็นความรู้สึกผิด กระนั้นบางถ้อยคำที่ทิ้งไว้กลับเป็นไทม์แมชชีนที่พาเขาย้อนกลับไปในวันหนึ่ง วันที่เขาทั้งคู่ลอดรั้วสังกะสีมาพบกัน
การเป็นเกษตรกรมันไม่ใช่เรื่องโสภา แต่ “แบงค์” หรือ ชาญวิทย์ พงษ์ชนะ หนุ่มสถาปนิกวัย 32 ชาวจังหวัดขอนแก่น กลับคิดตรงกันข้าม เขาตัดสินใจลาออกจากงานเพื่อเป็นเกษตรกรที่ใฝ่ฝันมานาน แล้วลองแหกกฎทุกอย่างด้วยการลุยทำเกษตรวิถีใหม่ โดยหวังว่า สักวันเกษตรกรไทยจะใช้เทคโนโยลีเข้ามาจัดการไร่นาได้มากขึ้น เขาจึงตั้งชื่อฟาร์มของตัวเองว่า "เกษตรขบถ"
16 ชั่วโมงต่อวัน คือความปกติที่ไม่ปกติอันน่ากระอักกระอ่วน ที่ ‘อ๊อด-บัณฑิต ทองดี’ และ ‘ปรัชญา ปิ่นแก้ว’ ผู้มีประสบการณ์มากมายในวงการหนังออกมาเล่าให้ฟัง ว่าคนเบื้องหลังต้องใช้เวลาแทบทั้งวันเพื่อสร้างสรรค์ศิลปะบนแผ่นฟิล์ม และนั่นนำมาสู่ความตื่นตัวที่จะหยิบเอาเรื่องหลังม่านมาพูดจากันในที่สาธารณะเสียที
จากกรณีการเสียชีวิตของ บุญชู ประวะเสนัง แรงงานไทยชาว อ.แวงน้อย จ.ขอนแก่น วัย 67 ปี ที่ลักลอบเข้าไปทำงานในเกาหลีใต้กว่า 10 ปี โดยพบร่างบนเนินเขาหลังฟาร์มแห่งหนึ่งในเมืองโพชอน จ.คยองกี ที่เต็มไปด้วยกองมูลสัตว์ ซึ่งทางเจ้าหน้าที่ตำรวจสันนิษฐานว่านายจ้างได้ทำการซ่อนเร้นอำพรางศพ โดยจากการตรวจสอบที่พำนักอาศัยของผู้เสียชีวิต สภาพห้องนอนนั้นอยู่ติดกับคอกหมูและมีกลิ่นเหม็นจากขยะ
บ้านของบุญชู ประวะเสนัง อยู่ที่ อ.แวงน้อย จ.ขอนแก่น ในวัย 57 ปี เขาตัดสินใจใช้เรี่ยวแรงที่เหลืออยู่ไปแลกค่าเงินวอนที่เมืองโพชอน ประเทศเกาหลีใต้ จากขอนแก่นถึงโพชอน ระยะทางห่างกัน 3,372 กิโลเมตร เขาต้องห่างบ้านกว่า 10 ปี กระทั่งฤดูร้อนครั้งที่ 67 ของบุญชู ก็ปรากฎข่าวว่าพบศพแรงงานไทยใกล้ฟาร์มหมูแห่งหนึ่งในเมืองโพชอน ศพนั้นมีชื่อว่า บุญชู ประวะเสนัง
ปิยราชรัตน์ พรรณขาม Citizen Reporter จาก Louder กับเรื่องเล่าของชีวิตเด็กขายนมเปรี้ยวกลางสี่แยกไฟแดง ที่นอกจากจะชวนให้เราเห็นวิธีการทำงาน ส่วนแบ่งรายได้ ยังพบประสบการณ์ถูกคุกคามของลูกค้าที่พวกเขาทำได้เพียงเบือนหน้าหนี
การเป็น “ผีน้อย” หรือ แรงงานผิดกฎหมายในเกาหลีใต้ ได้ค่าแรงมากกว่าค่าแรงขั้นต่ำในไทยกว่า 5 เท่า จึงทำคนไทยกว่า 4 แสนคนไปหลบซ่อนตัวทำงานผิดกฎหมายในแปลงเกษตรหรือโรงงานอุตสาหกรรมเป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นชาวอีสานหนีความแร้นแค้นในบ้านเกิดไปตายเอาดาบหน้า เสมือนหนึ่งดอกจานที่ไม่อาจบานในหน้าแล้งของอีสาน
“วิกฤตโควิด-19 นี้ทำให้เห็นว่า สังคมเราเปราะบางมาก เห็นได้จากการแสดงความคิดเห็นบนโลกออนไลน์ไล่ล่าเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน มีการเหยียดเพื่อนมนุษย์ราวกับว่าไม่ใช่มนุษย์ โดยเฉพาะชนชั้นแรงงาน” ส่วนหนึ่งของบทความของ ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ ที่เฝ้ามองปรากฏการณ์ในช่วงการระบาดของโควิด-19 ด้วยความเป็นห่วง
เรื่องของผู้ใช้แรงงานชาวไทยที่จากถิ่นฐานไปทำงานยังประเทศสิงคโปร์ โดยทำงานเป็นคนงานก่อสร้างในไซต์งานหรือในท่าเรือขนส่งสินค้ามากมายนับไม่ถ้วน เป็นฟันเฟืองที่ทำให้การค้าระหว่างประเทศดำเนินไป
เส้นทางชีวิตของอดีตผู้คุมงานก่อสร้างชาวอีสานที่กลายเป็นผู้บันทึกภาพชีวิตแรงงานไทยในประเทศสิงคโปร์์ยุคสร้างชาติ
สำรวจความคิดเห็นของผู้จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยในภาคอีสานสายรัฐศาสตร์พบว่าได้งานทำไม่ตรงกับสาขาที่ศึกษา
ประเทศไทยมีแรงงานพม่าเข้ามาทำงานเป็นจำนวนมาก แต่ใครจะคิดว่าใจกลางภาคอีสานอย่างจังหวัดขอนแก่นก็มีแรงงานพม่าอาศัยอยู่หลายพันคน จนเกิดเป็นชุมชนชาวพม่าขนาดย่อมๆ