มาร์ติน วีลเลอร์ ในร่างแหมายาคติสังคมไทย
มองมุมใหม่ของชีวิตมาร์ติน วีลเลอร์ "ฝรั่งหัวใจอีสาน" ขวัญใจสื่อและสังคมไทย
มองมุมใหม่ของชีวิตมาร์ติน วีลเลอร์ "ฝรั่งหัวใจอีสาน" ขวัญใจสื่อและสังคมไทย
เมื่อคุณยายอายุ 70 ปีดูแลแม่อายุ 102 ปีในชุมชนที่ประชากรเกือบ 1 ใน 4 เป็นผู้สูงวัย
ลูกจีนที่ปฏิเสธอภิสิทธิ์ความเป็นจีนซึ่งเป็นชาติพันธุ์ส่วนน้อย แต่ยึดกุมอำนาจทางเศรษฐกิจของไทย แต่กลับมาค้นหาความเป็นลาวตามถิ่นกำเนิดที่ภาคอีสาน เพื่อหวังยับยั้งมรดกตกทอดของการกดขี่จากที่สืบเนื่องมาจากอดีต
ถ้านโยบายไทยแลนด์ 4.0 เป็นการยิงธนูคือคนไทยไปสู่เป้าหมาย เป้าหมายที่ว่านั้นคืออะไร? ใครเป็นคนยิงธนู? [ความคิดเห็น]
เล่าเรื่องและขยายผลหลักฐานค้นพบใหม่ในบทความ “The Invention of ‘Isan’ History” ของ Akiko Iijima ซึ่งเผยให้เห็นการบิดเบือนเอกสารทางประวัติศาสตร์อย่างจงใจ
พล็อตเรื่องที่ผู้หญิงอีสานรับบทเป็นคนใช้ยังไม่สูญพันธุ์ไปจากสื่อไทย
เหตุใดการยอมรับตุ๊ด-เกย์-กะเทยในสังคม จึงไม่ได้ครอบคลุมไปถึงการยอมรับการเต้นออกสาว
คำหยาบอีสานยังคงไม่สามารถแปลเป็น “ภาษาเขียน” ได้อย่างแนบเนียน และเรือนร่างของผู้หญิงยังคงต้องรับภาระเป็นเครื่องพิสูจน์คุณค่าของ “ศิลปวัฒนธรรม” ในหนังโรแมนติก-คอมเมดี้ “ฮักแพง”
เรื่องราวของวงการดนตรีอีสานในรอบปีที่ผานมาซึ่งมีทั้งการได้รางวัลจากยูเนสโก้ หมอลำภาษาอังกฤษ และการถูกแทรกแซงจากนายกฯรัฐมนตรีคนอีสาน
ดร.บอนนี่ พาคาล่า เบรเร็ตทัน นักประวัติศาสตร์ศิลปะและนักวิชาการพุทธศึกษาว่า ฮูปแต้มแสดง “วิสัยทัศน์ถึงสังคมที่เป็นประชาธิปไตย” ตลอดทั้งบรรยากาศการยอมรับความสำคัญของศิลปะแขนงนี้ที่พาดข้ามฝั่งโขงจากอีสานตอนกลางไปยังประเทศลาว
แนะนำวรรณกรรมอีโคไซไฟที่น่าตื่นเต้นที่สุดของอีสานศตวรรษที่ยี่สิบเอ็ด เมื่อที่ราบสูงกลายเป็นทะเลทราย อารยธรรมที่สาบสูญจะได้รับการกอบกู้กลับมาได้อย่างไร?
เรื่องของผู้ที่เกิดในภาคอีสานแต่ถูกขัดเกลาจากครอบครัวและโรงเรียนด้วยภาษาและวัฒนธรรมส่วนกลาง ทำให้เธอต้องกลับมาเรียนรู้ความเป็นอีสานหลังออกจากการทำงานเอ็นจีโิอที่กรุงเทพฯ