The Latest
ทำบุญ 22 ปี เครือข่ายฟื้นฟูประชาสร้างสรรค์ขอนแก่น องค์กรภาคประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากโครงการรถไฟความเร็วสูงเข้าร่วมคับคั่ง แต่ไร้เงา รฟท.ที่เตรียมไล่รื้อ 10 ชุมชนริมทาง
ทำบุญ 22 ปี เครือข่ายฟื้นฟูประชาสร้างสรรค์ขอนแก่น องค์กรภาคประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากโครงการรถไฟความเร็วสูงเข้าร่วมคับคั่ง แต่ไร้เงา รฟท.ที่เตรียมไล่รื้อ 10 ชุมชนริมทาง
กลุ่มราษฎรขอนแก่น ยื่นหนังสือถึงนายกฯ ผ่านผู้ว่าฯ จี้เปิดเลือกตั้งผู้ว่าทั่วประเทศ จี้โอนงบและบุคลากรลงพัฒนาท้องถิ่น พร้อมทำโพลล์สอบถามร่วมเลือกตั้งผู้ว่าฯ
กลุ่มราษฎรขอนแก่น ยื่นหนังสือถึงนายกฯ ผ่านผู้ว่าฯ จี้เปิดเลือกตั้งผู้ว่าทั่วประเทศ จี้โอนงบและบุคลากรลงพัฒนาท้องถิ่น พร้อมทำโพลล์สอบถามร่วมเลือกตั้งผู้ว่าฯ
“ปวิน” เชื่อคนรุ่นใหม่ กทม.โหยหาประชาธิปไตย ชี้เผด็จการกลัวเลือกตั้ง
“ปวิน” ชี้ผลเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.ฉายภาพการเมืองระดับชาติ หาก“ชัชชาติ-วิโรจน์” ชนะเท่ากับคน กทม.กำลังขับเคลื่อนไปสู่การสะท้อนเสียงส่วนมากของคนในประเทศ แต่หากหวยออกขั้วเดิมเท่ากับการเมืองไทยยังรวมศูนย์ เชื่อระบอบเผด็จการกลัวเลือกตั้ง คาดเลือกตั้งครั้งหน้าสนุกแนะจับตาพรรคไหนชูปฏิรูปสถาบัน หนุน 3 จชต.เลือกตั้งผู้ว่าฯ
ที่ว่าง สร้าง รัฐ : ศึกษาการจัดการที่ว่างและสถาปัตยกรรมของรัฐสยาม ในการเปลี่ยน “เมืองอุบล” เป็น “มณฑลอีสาน”
เหตุเผาศาลากลางอุบลฯ เมื่อปี 2553 มีประวัติศาสตร์ซ้อนทับกับเหตุการณ์การประหารชีวิตกบฏผู้มีบุญนับร้อยเมื่อปี 2445 อย่างไม่น่าเชื่อ ทั้งสถานที่ตัดสินคดี สถานที่สั่งประหาร ฯลฯ นี่จึงเป็นความบังเอิญที่ไม่ใช่เรื่องบังเอิญเชิงประวัติศาสตร์อย่างแท้จริง
ผู้มีบุญในอีสานซีซั่นสอง (23) – “ดีเจต้อย” กับสายเลือดผู้มีบุญ 2445
14 กุมภาพันธ์ 2565 ถือเป็นวันแห่งความรัก แต่สำหรับดีเจต้อย – พิเชษฐ์ ทาบุดดา’ แกนนำกลุ่มชักธงรบ เขาถือว่าเป็น “วันแห่งอิสรภาพ” ที่ได้รับการปล่อยตัวออกจากเรือนจำ พร้อมกับบาดแผลที่ในความทรงจำจากคดีที่ไม่ได้อยู่ในเหตุการณ์เผาศาลากลาง จ.อุบลฯ
ด้วยความเป็นลูกหลานผู้มีบุญบ้านสะพือทำให้เขามีใจฮึดสู้ โดยประกาศจะกลับมาจัดรายการวิทยุและรื้อรายการ ชักธงรบให้กลับมาได้รับความนิยมอีกครั้ง
คาเฟ่ส่งสาร จ.อุบลฯ แกลลอรี่แสดงงานการเมือง
คุยกับ “เป็ด-ยุทธนา ดาวเจริญ” เจ้าของร้านคาเฟ่ส่งสาร จ.อุบลฯ ที่ต้องการสร้างพื้นที่แลกเปลี่ยนความคิดของชาวอุบลฯ ที่ไม่ได้ต้องการเพียงแค่เสิร์ฟกาแฟ แต่เป็นพื้นที่กลางให้คนได้เจอกัน สร้างพื้นที่ศิลปะและแหล่งพบปะรวมตัวของเหล่านักคิด นักเขียน นักเคลื่อนไหวในอุบลฯ เหมือนคาเฟในฝรั่งเศสก่อนการปฏิวัติ
“หวังว่าจิตร ภูมิศักดิ์ จะยังไม่นอน”
ถ้า “จิตร ภูมิศักดิ์” ยังคงอยู่เขาจะมีอายุครบ 91 ปี แต่เขาถูกยิงตายที่ชายป่า จ.สกลนคร เมื่อ 5 พฤษภาคม 2509 ด้วยวัยเพียง 36 ปี แต่ผลงานของเขายังคงเป็นปีศาจแห่งกาลเวลา ปลุกเร้า เบิกเนตร ให้คนรุ่นใหม่รุ่นแล้วรุ่นเล่า “อัยการ ศรีดาวงศ์” ก็เป็นหนึ่งในนั้น เขารำพันเพื่อปลุกให้ปู่แห่งปัญญามาดูสวนอักษรของเขาในวันที่ลมหายใจไม่อยู่แล้ว
คุยกับ บก. LANNER : นุ๊ก วัชรพล สื่อภาคเหนือในมิติของคนรุ่นใหม่
ด้วยเงินทุนเริ่มแรกเพียง 6 พันบาทที่มาจากการลงขันของนักฝัน 9 คน ทำให้วันแรงงาน 1 พฤษภาคม 2565 เป็นฤกษ์งามยามดีที่พวกเขาเลือกเปิดตัวสำนักข่าว Lanner (ลานเน้อ)
มี “นุ๊ก – วัชรพล นาคเกษม” ลูกครึ่งอีสานพลัดถิ่น อาสาเป็นบรรณาธิการ โดยหวังว่า จะปลุกปั้นสำนักข่าวแห่งนี้ให้เป็นสื่อทางเลือกสำหรับคนภาคเหนือไปพร้อมๆ กับการตอบโจทย์ความหิวกระหายข้อมูลที่ถูกตัดตอน ตัดขาด และถูกปิดตา
ประวัติศาสตร์กระจ้อยร่อย ณ ใหม่อีหลี ขอนแก่น
“อภิชาติพงษ์ วีระเศรษฐกุล” นำนิทรรศการประวัติศาสตร์กระจ้อยร่อย (A Minor History) ที่ได้แรงบันดาลใจจากการพูดคุยกับอาสาสมัครที่เก็บศพ 4 นักต่อสู้ผู้ถูกฆ่ายัดแท่งปูนทิ้งลงโขงมาถ่ายทอดเป็นงานศิลปะ พร้อมเปิดให้เข้าชมแล้ว มาไว้ที่อาร์ตแกลลอรี่ “ใหม่อีหลี” จ.ขอนแก่น เปิดให้เข้าชมแล้วตั้งแต่วันนี้ถึง 27 พ.ย.
ผู้มีบุญในอีสานซีซั่นสอง (21) – “ย่ากา” ผู้มีบุญกาฬสินธุ์กับตำนานคำเสี่ยงทายผ่านผญา
แม้เหตุการณ์การลุกฮือของกลุ่มผู้มีบุญในพื้นที่ต่างๆ ของลาวฝั่งขวาแม่น้ำโขงจะผ่านมาแล้วกว่า 120 ปี แต่เรื่องราวยังคงหลงเหลือผ่าน “กลอนลำและผญา” ถือเป็นบันทึกปากเปล่าที่บอกเล่าผ่านมาจากรุ่นสู่รุ่น “ย่ากา” เป็นคนหนึ่งที่บันทึกเรื่องราวการเปลี่ยนแปลงของเมืองกาฬสินธุ์ผ่านผญาจนสร้างความไม่พอใจให้แก่รัฐสยามจนถูกลงโทษและกล่าวหาว่า เป็นผีบุญ